รายงานการประเมินผลตนเอง
การดำเนินการพัฒนาองค์การตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level)
ประจำปี 2555

หมวด
รหัส ADLI
ข้อย่อย
รายละเอียด
ผลการดำเนินงาน
คำอธิบายผล
การดำเนินการเพิ่มเติม
วันที่รายงาน
1
LD5 1 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance) เพื่อเป็นเครื่องมือในการกำกับดูแลให้การดำเนินงานของส่วนราชการเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

ใช่
ไม่ใช่
การพิจารณานโยบายกำกับดูแลองค์การที่ดี ของ สป.มท. มีการแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อพิจารณากำหนดนโยบายและแผนงานให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยม ของ สป.มท. ตามคำสั่ง สป.มท. ที่ 22/2552 ลงวันที่ 2 มิถุนายน 2552 และมีการประชุมติดตาม และทบทวนการดำเนินการอย่างสม่ำเสมอ 30/09/55
1
LD5 2 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance) เพื่อเป็นเครื่องมือในการกำกับดูแลให้การดำเนินงานของส่วนราชการเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

ใช่
ไม่ใช่
สป.มท. มีการกำหนดตัวชี้วัดของการดำเนินการที่ชัดเจนและมีการรายงานผลการดำเนินงาน กับผู้บริหารทราบ 30/09/55
1
LD5 3 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance) เพื่อเป็นเครื่องมือในการกำกับดูแลให้การดำเนินงานของส่วนราชการเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

ใช่
ไม่ใช่
คณะทำงานมีการประชุมทบทวน ติดตามผลการดำเนินงาน และมีการปรับปรุงนโยบาย ในส่วนที่เพิ่มเติมและรักษาระดับการดำเนินงานสำหรับนโยบายที่ส่งผลดี 30/09/55
1
LD6 1 ส่วนราชการต้องจัดให้มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่ดีตามแนวทางของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

ใช่
ไม่ใช่
มีการประเมินผลการควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๖ ปัจจุบันอยู่ระหว่างขอความร่วมมือส่วนราชการ/หน่วยงานในสังกัด สป.มท. จัดทำรายงานการควบคุมภายในระดับส่วนงานย่อย เพื่อประมวลผลจัดทำรายงานการประเมินการควบคุมภายในเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินต่อไป โดยระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๖ กำหนดให้ส่วนราชการที่เป็นหน่วยรับตรวจจัดทำรายงานการควบคุมภายในเสนอต่อคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ผู้กำกับดูแล อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ภายใน ๙๐ วัน นับจากวันสิ้นปีงบประมาณหรือปีปฏิทิน แล้วแต่กรณี 30/09/55
1
LD6 2 ส่วนราชการต้องจัดให้มีระบบการควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยงที่ดีตามแนวทางของคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

ใช่
ไม่ใช่
ส่วนราชการได้ดำเนินการตามข้อ 1 ไปดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง 30/09/55
1
LD7 1 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดให้มีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม อันเป็นผลมาจากการดำเนินการของส่วนราชการ รวมทั้งต้องนำวิธีการหรือมาตรการที่กำหนดไว้ไปปฏิบัติ

ใช่
ไม่ใช่
มีการติดตามและสำรวจโครงการที่อาจส่งผลกระทบทางลบ ประจำปี 2555 ทุกหน่วยงานได้มีการวิเคราะห์โครงการที่ได้ดำเนินการตามพันธกิจแล้ว ปรากฏว่าไม่มีโครง/กิจกรรมใดที่มีผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นกับสังคมหรือสิ่งแวดล้อมแต่อย่างใด 30/09/55
1
LD7 2 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดให้มีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม อันเป็นผลมาจากการดำเนินการของส่วนราชการ รวมทั้งต้องนำวิธีการหรือมาตรการที่กำหนดไว้ไปปฏิบัติ

ใช่
ไม่ใช่
สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ได้มีแนวทางในการจัดผลกระทบทางลบที่อาจเกิดขึ้น โดยเน้นย้ำเรื่องการประสานการดำเนินงานของแต่ละหน่วยงานให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ปฏิบัติต่อประชาชนโดยเสมอภาค หลีกเลี่ยงการปฏิบัติที่ส่งผลกระทบหรือมีผลทำให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อน และมีช่องทางการติดต่อสื่อสารและการรับข้อร้องเรียน เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ที่ยึดหลักกฎหมาย 30/09/55
1
LD7 3 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดให้มีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม อันเป็นผลมาจากการดำเนินการของส่วนราชการ รวมทั้งต้องนำวิธีการหรือมาตรการที่กำหนดไว้ไปปฏิบัติ

ใช่
ไม่ใช่
ทุกหน่วยงานได้มีแนวทางการป้องกันผลกระทบทางลบที่อาจเกิดขึ้นในด้านต่างๆ และนำมาตรการป้องกันไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง 30/09/55
1
LD7 4 ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องกำหนดให้มีวิธีการหรือมาตรการในการจัดการผลกระทบทางลบที่เกิดขึ้นต่อสังคม อันเป็นผลมาจากการดำเนินการของส่วนราชการ รวมทั้งต้องนำวิธีการหรือมาตรการที่กำหนดไว้ไปปฏิบัติ

ใช่
ไม่ใช่
มีการดำเนินงานและทบทวนแนวทางการดำเนินการผลกระทบทางลบ ซึ่งทุกหน่วยงานใน สป.มท. ได้ดำเนินการมาทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2552 30/09/55
2
SP1 1 ส่วนราชการต้องมีการกำหนดขั้นตอน/กิจกรรม และกรอบเวลาที่เหมาะสม รวมถึง มีการระบุผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยมุ่งเน้นที่จะผลักดันให้บรรลุวิสัยทัศน์และพันธกิจของส่วนราชการ บรรลุเป้าหมายตามแผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการของกระทรวงและกลุ่มภารกิจ

ใช่
ไม่ใช่
สป.มท. ได้ดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๘) และแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร. โดยได้ดำเนินการกำหนดขั้นตอน/กิจกรรม กรอบระยะเวลา และผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน ดังนี้ ๑) กำหนดปฏิทินการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยประกอบด้วยระยะเวลาในการดำเนินการแต่ละขั้นตอน/กิจกรรม เพื่อให้การดำเนินการแล้วเสร็จภายในกำหนดเวลา ๒) มีการแต่งตั้งคณะทำงานจัดทำแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี โดยมีรอง ปมท.(บ) เป็นประธานคณะทำงาน และมีหัวหน้าส่วนราชการและหน่วยงานในสังกัด สป.มท.เป็นคณะทำงาน เพื่อดำเนินการศึกษา วิเคราะห์ ทบทวนและกำหนด วิสัยทัศน์ ค่านิยมองค์กร พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ รวมถึงแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/ผลผลิต เพื่อใช้ในการ จัดทำแผนปฏิบัติราชการ ๔ ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี 30/09/55

 


กลับหน้าหลัก