1. หน่วยงาน | สตร.สป. |
2. ชื่อโครงการ | 1. การอำนวยความเป็นธรรมและเสริมสร้างราชการใสสะอาด (ภารกิจสำนักตรวจราชการและเรื่องราวร้องทุกข์) |
3. ตัวชี้วัด | จำนวนครั้งการออกตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย ในเขตพื้นที่หน่วยรับตรวจที่รับผิดชอบ 76 จังหวัด โดยหน่วยรับตรวจพิจารณาดำเนินการตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย คิดเป็นร้อยละ 80 |
4. งบประมาณ | 4.7900ล้านบาท |
5. PO | 0.0000ล้านบาท |
6. ห้วงการรายงาน | ไตรมาสที่ 2 (1 ม.ค. 66 - 31 มี.ค. 66) |
7.1 ยุทธศาสตร์ชาติ | ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภาครัฐ |
7.2 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ | ภาครัฐที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ ตอบโจทย์
ประชาชน |
7.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 | การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาค
รัฐ |
7.4 นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา | นโยบายหลักด้านที่ 11 การปฏิรูปการบริหาร
จัดการภาครัฐ |
7.5 ยุทธศาสตร์ตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย | การพัฒนาองค์กรให้พร้อมรับต่อการเปลี่ยน
แปลง |
7.6 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) | ส่งเสริมสังคมที่สงบสุขและครอบคลุมเพื่อการ
พัฒนาที่ยั่งยืน ให้ทุกคนเข้าถึงความยุติธรรมและสร้างสถาบันที่มีประสิทธิผล รับผิดชอบ และ
ครอบคลุมในทุกระดับ |
7.7 นโยบายรัฐบาลใหม่ | |
8. ผลการดําเนินงานของแผนงาน/โครงการรายไตรมาส | ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทยออกตรวจราชการในพื้นที่หน่วยรับตรวจ (จังหวัด) จำนวน 24 ครั้ง และได้ให้ข้อสังเกตตามประเด็นแผนการตรวจราชการฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ของแต่ละเดือน โดยหน่วยรับตรวจ พิจารณาดำเนินการตามอำนาจหน้าที่แล้ว ตั้งแต่เดือนมกราคม ถึงเดือนมีนาคม 2568 คิดเป็นร้อยละ 80 |
| - เป้าหมายการดําเนินงาน (30.0000 ครั้ง /80 ครั้ง) - ผลการดําเนินงาน (24.0000) ครั้ง /80 ครั้ง |
| - เป้าหมายการเบิกจ่าย 1.2518 ล้านบาท - ผลการเบิกจ่าย 1.4020 ล้านบาท |
9. ปัญหาและอุปสรรค | 1. การใช้ระยะเวลาในการตรวจราชการเป็นเวลานาน เนื่องจากประเด็นการตรวจราชการมีจำนวนมาก ส่งผลให้การตรวจราชการไม่ครอบคลุมตามประเด็นการตรวจราชการที่กำหนดไว้ 2. ภารกิจงานตรวจราชการมีจำนวนมากและหลากหลาย ทำให้บุคลากรมีระยะเวลาในการทำงานไม่เพียงพอ 3. การจัดสรรงบประมาณในส่วนของค่าใช้จ่ายในการตรวจราชการ ไม่เพียงพอ และไม่มีงบประมาณในการพัฒนาระบบสนับสนุนการตรวจราชการด้วยอิเล็กทรอนิกส์ E-Inspection เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจราชการของบุคลากร การตรวจราชการ และหน่วยรับการตรวจ (จังหวัด) 4. การกำหนดประเด็นตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทยประจำเดือนเป็นการกำหนดประเด็นตรวจราชการสำหรับเดือนถัดไป ซึ่งหลังจากผู้ตรวจราชการลงตรวจราชการในพื้นที่แล้วเสร็จ หน่วยรับตรวจ (จังหวัด) จึงรายงานผลการดำเนินการตามประเด็นตรวจกลับมาเพื่อให้ท่านผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทยพิจารณาให้ข้อเสนอแนะ/ข้อสังเกต ซึ่งในการดำเนินการกระบวนการดังกล่าว ใช้ระยะเวลาประมาณ 2 เดือน ส่งผลให้การรายงานผลการดำเนินการของหน่วยรับตรวจ ตามที่ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทยได้ให้ไว้ไม่สามารถดำเนินการได้ตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด |