1. หน่วยงาน กพร.สป.
2. ชื่อโครงการ การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ระบบงาน และจัดการความรู้ : การดำเนินงานของกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สป. (ร้อยละความสำเร็จของมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (ประเมินผล 1 ครั้งต่อปีงบประมาณ))
3. ตัวชี้วัด ร้อยละความสำเร็จของมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (ประเมินผล 1 ครั้งต่อปีงบประมาณ)
4. งบประมาณ 538800.0000ล้านบาท
5. ห้วงการรายงาน ไตรมาสที่ 2 (1 ม.ค. 66 - 31 มี.ค. 66)
6.1 ยุทธศาสตร์ชาติ
6.2 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
6.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
6.4 นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา
6.5 ยุทธศาสตร์ตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย
6.6 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs)
7. ผลการดําเนินงานของแผนงาน/โครงการรายไตรมาส ร้อยละความสำเร็จของมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (ประเมินผล 1 ครั้งต่อปีงบประมาณ)
ผลการดำเนินงานไตรมาส 1
1.สำนักงาน ก.พ.ร. แจ้งกรอบและแนวทางการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ตามมติ ครม. เห็นชอบเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2564ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การประเมินประสิทธิผลการดำเนินงาน (Performance Base) น้ำหนักร้อยละ 70 และ 2) การประเมินศักยภาพในการดำเนินงาน (Potential Base) น้ำหนักร้อยละ 30 น้ำหนักรวมร้อยละ 100 โดยแจ้งชื่อตัวชี้วัดระดับกระทรวงของ มท. (KPI Basket) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และรายละเอียด ในเบื้องต้น จำนวน ๑๐ ตัวชี้วัด ส่งให้ มท. เพื่อใช้ประกอบในการพิจารณา ของคณะกรรมการระดับกระทรวง
2.รมว.มท. ได้แต่งตั้งคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการใน มท. โดยมี ปมท. เป็นประธานกรรมการ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานพัฒนาระบบบริหารของ มท. เป็นกรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่กำหนดตัวชี้วัด น้ำหนัก ค่าเป้าหมาย ในการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ การติดตาม กำกับ รวมทั้งถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับกระทรวงสู่ส่วนราชการระดับกรมภายในกระทรวง โดยคณะกรรมการฯ ได้พิจารณาตัวชี้วัดระดับกระทรวง นำส่งไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2564 เรียบร้อยแล้ว
3.สำนักงาน ก.พ.ร. แจ้ง มท. ให้กรมในสังกัด มท. จัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เกณฑ์การให้คะแนน และน้ำหนัก ของตัวชี้วัดระดับกระทรวงที่ถ่ายทอดลงสู่ระดับกรมในสังกัด พร้อมกำหนด ค่าเป้าหมายในรอบ 6 เดือน ของตัวชี้วัดระดับกระทรวงและกรมในสังกัดทุกตัวชี้วัดในทุกองค์ประกอบ เพื่อนำไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการติดตามความก้าวหน้าและการประเมินผู้บริหารของส่วนราชการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ซึ่ง มท. ได้รวบรวมและนำส่งไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2564 ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ที่กำหนดเรียบร้อยแล้ว
4.สำนักงาน ก.พ.ร. ได้ส่งสรุปผลการพิจารณาตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของ มท. รวมทั้งสิ้น 10 ตัวชี้วัด ที่ผ่านการพิจารณาจากคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบราชการเกี่ยวกับการประเมินส่วนราชการฯ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2564 และให้ส่วนราชการติดตามการดำเนินงานและรายงานความก้าวหน้าผ่านระบบการรายงานผลการประเมินส่วนราชการ (e-SAR) โดยรายงานรอบ 6 เดือน ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2565 และรอบ 12 เดือน ภายในวันที่ 14 ตุลาคม 2565 เพื่อประโยชน์ในการนำไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการประเมินผู้บริหารของส่วนราชการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ในมิติด้านผลสัมฤทธิ์ (Performance) และนำเรียน รมว.มท. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการกำกับการบริหารราชการให้เกิดผลสัมฤทธิ์และบรรลุเป้าหมายที่กำหนดต่อไป
5.ตัวชี้วัดของส่วนราชการระดับกรมในสังกัด มท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กพร.สป. ได้รับการประสานจากสำนักงาน ก.พ.ร. (นางสาวรฐา โชติธีรชัย นักพัฒนาระบบราชการชำนาญการพิเศษ) แจ้งว่า การพิจารณาตัวชี้วัดฯ ของกรมในสังกัด มท. ให้เป็นไปตามที่คณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการใน มท. ได้พิจารณาให้ความเห็นชอบตามมติที่ประชุมเมื่อวันที่ 15 กันยายน 2564 และดำเนินการขับเคลื่อนให้บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดต่อไป
6.กพร.สป. ได้นำเรียนผู้บริหารและแจ้งกรมในสังกัด มท. / สป.มท. ขับเคลื่อนการดำเนินการตัวชี้วัดระดับกระทรวง (KPI Basket) ในส่วนที่รับผิดชอบ และตัวชี้วัดของกรมให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดเรียบร้อยแล้ว
7.มติ ครม. เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2564 กำหนดให้ส่วนราชการดำเนินการขับเคลื่อนการให้บริการประชาชนผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จำนวน 12 งานบริการ ซึ่ง มท. มีงานบริการ Agenda ที่เกี่ยวข้อง 2 งานบริการ ได้แก่ 1) ระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล (DOPA – Digital ID) ปค. เจ้าภาพหลัก และ 2) ระบบการรับชำระภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ทด. เจ้าภาพหลัก ต้องจัดทำแผนที่นำทาง (Roadmap) พัฒนางานบริการ และจัดทำแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ให้แล้วเสร็จในห้วงเดือนธันวาคม 2564 ตามแบบฟอร์มที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด
8.ปค. และ ทด. ได้จัดทำแผนที่นำทาง (Roadmap) พัฒนางานบริการ ระยะ 3 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 – 2567 และจัดทำแผนปฏิบัติการ (Action Plan) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เสร็จเรียบร้อยแล้ว ส่งให้ มท. เพื่อนำเรียน ปมท. เพื่อโปรดพิจารณาให้ความเห็นชอบและส่ง สกพร. เรียบร้อยแล้ว


ร้อยละความสำเร็จของมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (ประเมินผล 1 ครั้งต่อปีงบประมาณ)
ผลการดำเนินงานไตรมาส 2
1. ผลการดำเนินการจัดทำตัวชี้วัดประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการผู้บริหารของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทย รอบ 6 เดือน ในไตรมาสที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้
1.1 สำนักงาน ก.พ.ร. แจ้งหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการผู้บริหารของส่วนราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อให้ส่วนราชการและจังหวัดทราบและถือปฏิบัติการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติด้านผลสัมฤทธิ์ (Performance) น้ำหนักร้อยละ 70 เป็น 2 มิติย่อย ประกอบด้วย (1) ตัวชี้วัดเกี่ยวกับการดำเนินงานตามนโยบายของรัฐบาล (Agenda) และภารกิจประจำส่วนราชการ (Function) และภารกิจองค์การ ค่าน้ำหนักร้อยละ 40 – 70 และ (2) ตัวชี้วัดเกี่ยวกับการดำเนินงานในวาระเร่งด่วนหรือภารกิจที่ถูกมอบหมายเป็นพิเศษ (Urgency/assigned Tasks) ในกรณีที่ได้รับมอบหมายภารกิจเพิ่มเติมเป็นพิเศษจาก นรม. ครม. หรือ รมว. เจ้าสังกัดระหว่างรอบการประเมิน ค่าน้ำหนักร้อยละ 30 จำนวนไม่เกิน 1 ตัวชี้วัด (ถ้ามี)
1.2 กพร.สป. ได้ดำเนินการ ดังนี้
1) ประชุมหารือกับหน่วยงานในสังกัด มท. (สนผ.สป. สบจ.สป. และ กจ.สป.) เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2565 เพื่อพิจารณากำหนดตัวชี้วัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการผู้บริหารระดับกรมในสังกัด มท. จำนวน 1 ตัวชี้วัด และผู้ว่าราชการจังหวัด จำนวน 1 ตัวชี้วัด
2) แจ้งส่วนราชการ/หน่วยงานในสังกัด มท. ทราบหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และดำเนินการกำหนดตัวชี้วัดการประเมินผลการปฏิบัติราชการผู้บริหารของส่วนราชการระดับกรมและผู้ว่าราชการจังหวัด รอบ 6 เดือน เพื่อให้มีความสอดคล้องกับนโยบายของ มท. และเป็นไปตามแนวทางที่สำนักงาน ก.พ.ร.กำหนด โดยจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัด เกณฑ์การให้คะแนน และค่าเป้าหมายการดำเนินงาน ส่งให้ กพร.สป.
3) จัดทำรายละเอียดข้อมูลตัวชี้วัดฯ ของส่วนราชการระดับกรมและผู้ว่าราชการจังหวัด รวมทั้งสิ้น 13 ตัวชี้วัด นำเรียน รมว.มท. เพื่อโปรดพิจารณาให้ความเห็นชอบตัวชี้วัดฯ ดังกล่าว เพื่อใช้ประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการผู้บริหารของส่วนราชการและผู้ว่าราชการจังหวัด และแจ้งผลการพิจารณาให้ กองการเจ้าหน้าที่.สป. ดำเนินการต่อไป
4) ประชุมร่วมกับกองการเจ้าหน้าที่ สป. ผู้แทนส่วนราชการระดับกรม ผู้แทนจังหวัด และหน่วยงานในสังกัด สป.มท. เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและการติดตามการดำเนินงานและการรายงานผลความก้าวหน้าการดำเนินงานตัวชี้วัดฯ ผ่านระบบการรายงานผลการประเมินส่วนราชการ (e-SAR) รอบ 6 เดือน ให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 มีนาคม 2565
5) มีหนังสือขอความเห็นชอบ ปมท./แจ้งส่วนราชการระดับกรมและหน่วยงานในสังกัด สป.มท. รายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 6 เดือน เพื่อประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการผู้บริหารของส่วนราชการตามกำหนด ภายในวันที่ 15 เมษายน 2565
2. ผลการดำเนินงานการติดตามและประเมินผลส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้
2.1 สำนักงาน ก.พ.ร. ประชุมชี้แจงเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการผู้บริหารของส่วนราชการ เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 โดยแจ้งส่วนราชการและหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทย
เข้าร่วมรับฟังการประชุมชี้แจงดังกล่าว
2.2 สำนักงาน ก.พ.ร. แจ้งติดตามการดำเนินงานและรายงานผลความก้าวหน้าการดำเนินงานตัวชี้วัด ตามเป้าหมาย รอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการผู้บริหารของส่วนราชการ ผ่านระบบการรายงานผลการประเมินส่วนราชการ (e-SAR) โดยให้ส่วนราชการทบทวนค่าเป้าหมายการดำเนินงาน หากพบปัจจัยภายนอกที่ไม่สามารถควบคุมได้ และกระทบกับเป้าหมายการดำเนินงานตัวชี้วัด และมีความประสงค์ขอเปลี่ยนแปลงเป้าหมาย รอบ 6 เดือน ให้ดำเนินการผ่านกลไกคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการ และแจ้งสำนักงาน ก.พ.ร. ทราบภายในวันที่ 31 มีนาคม 2565
2.3 กพร.สป. แจ้งส่วนราชการระดับกรมและหน่วยงานในสังกัด มท. เพื่อติดตามการดำเนินงานและรายงานผลความก้าวหน้าผ่านระบบการรายงานผลการประเมินส่วนราชการ (e-SAR) ตามเป้าหมายรอบ 6 เดือน ให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 31 มีนาคม 2565 และเป็นไปตามแนวทางที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด กรณีหากมีการเปลี่ยนแปลงค่าเป้าหมายการดำเนินงานตัวชี้วัด รอบ 6 เดือน ให้รายงานการขอเปลี่ยนแปลงค่าเป้าหมายดำเนินการตัวชี้วัด ให้ กพร.สป. เพื่อดำเนินการแจ้งรายงานการขอเปลี่ยนแปลงผ่านคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงมหาดไทย ให้ความเห็นชอบ โดยมีตัวชี้วัดที่ขอเปลี่ยนแปลงค่าเป้าหมายการดำเนินงาน จำนวน 2 ตัวชี้วัด คือ (1) ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการขับเคลื่อนแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดย กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นเจ้าภาพตัวชี้วัด และ (2) ตัวชี้วัดความสำเร็จในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ตามแนวพระราชดำริและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นเจ้าภาพตัวชี้วัด ซึ่ง กพร.สป. ได้แจ้งแบบยืนยันขอความเห็นชอบการขอเปลี่ยนแปลงตัวชี้วัดดังกล่าว โดยผ่านคณะกรรมการให้ความเห็นชอบ และสรุปผลมติความเห็นของคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงมหาดไทย ให้สำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2565
2.4 มีหนังสือแจ้งส่วนราชการในสังกัด มท. รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดในการประเมินส่วนราชการ
ตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ รอบ 6 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้
1) ส่วนราชการระดับกรมในสังกัด มท. รายงานผลการดำเนินงานผ่านระบบการรายงานผลการประเมินส่วนราชการ (e-SAR) ให้แล้วเสร็จภายใน 15 เมษายน 2565 และรายงานข้อมูลผลการดำเนินงาน พร้อมทั้งปัญหาอุปสรรค ให้ มท. ทราบ ภายในวันที่ 18 เมษายน 2565
2) หน่วยงานในสังกัด สป.มท. รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดฯ รอบ 6 เดือน ให้ กพร.สป. ทราบ ภายในวันที่ 5 เมษายน 2565 เพื่อนำเรียน ปมท. ให้ความเห็นชอบ ก่อนการบันทึกรายงานผ่านระบบฯ ภายในกำหนด
2.5 กพร.สป. รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดระดับกระทรวงในภาพรวมผลการดำเนินงานฯ รอบ 6 เดือน นำเรียน รมว.มท. เพื่อโปรดทราบ


ร้อยละความสำเร็จของมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (ประเมินผล 1 ครั้งต่อปีงบประมาณ)
ผลการดำเนินงานไตรมาส 3

ผลการดำเนินงานการติดตามและประเมินผลส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้
- สำนักงาน ก.พ.ร. แจ้งซักซ้อมแนวทางการกำกับ ติดตามและประเมินผลส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยผ่านกลไกคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงมหาดไทย รายละเอียดดังนี้
1. ให้คณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการฯ ติดตามการดำเนินงานตัวชี้วัด และรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน ผ่านระบบการรายงานผลการประเมินส่วนราชการ (e-SAR) ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป เพื่อใช้ในการติดตามปัญหาอุปสรรคและแนวโน้มการบรรลุเป้าหมายของตัวชี้วัด โดยสามารถปรับปรุงข้อมูลผลการดำเนินงานในระบบฯ ได้จนกว่าจะเป็นผลการดำเนินงานที่เป็นข้อมูลสุดท้าย (ณ รอบ 12 เดือน) ดังนี้
1.1 การรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 9 เดือน ภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2565 ทั้งนี้ หากตัวชี้วัดใดยังไม่มีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน ขอให้รายงานความก้าวหน้าเป็นข้อมูลการดำเนินการหรือขั้นตอนที่อยู่ระหว่างดำเนินการ รวมถึงปัญหาอุปสรรคในช่องคำชี้แจงการปฏิบัติงานในระบบ e-SAR เพื่อให้ทราบถึงสถานะการดำเนินงาน ณ ปัจจุบันและแนวโน้มในการบรรลุเป้าหมายของตัวชี้วัดดังกล่าว
1.2 การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 12 เดือน ภายในวันที่ 17 ตุลาคม 2565 เพื่อใช้ในการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการผู้บริหารของส่วนราชการ
2. หากส่วนราชการพบปัจจัยภายนอกที่ไม่สามารถควบคุมได้ และส่งผลกระทบกับเป้าหมายการดำเนินงานตามตัวชี้วัด และมีความประสงค์ขอปรับรายละเอียดตัวชี้วัด (เฉพาะตัวชี้วัดในองค์ประกอบการประเมินประสิทธิผลการดำเนินงาน (Performance Base)) ให้ดำเนินการ ดังนี้
2.1 กรณีขอปรับเปลี่ยนรายละเอียดตัวชี้วัดตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน ของตัวชี้วัดระดับกระทรวง ให้เสนอคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการฯ พิจารณาเหตุผลและความเหมาะสมของรายละเอียดตัวชี้วัดที่ขอปรับเปลี่ยน เสนอสำนักงาน ก.พ.ร. พิจารณาภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2565
2.2 กรณีขอปรับเปลี่ยนรายละเอียดตัวชี้วัดตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน ของตัวชี้วัดระดับกรม ให้เสนอคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการฯ พิจารณาเหตุผลและความเหมาะสมของรายละเอียดตัวชี้วัดที่ขอปรับเปลี่ยน เสนอสำนักงาน ก.พ.ร. เพื่อทราบภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2565

- กพร.สป. ได้ดำเนินการ ดังนี้
1. แจ้งกรมในสังกัด มท. เพื่อทราบการซักซ้อมแนวทางดังกล่าว และขับเคลื่อนตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทยและส่วนราชการระดับกรมให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด พร้อมทั้งรายงานการดำเนินการตัวชี้วัดการประเมินผลดังกล่าวตามรอบการรายงานที่กำหนด ทั้งนี้ หากมีปัญหา อุปสรรคในการขับเคลื่อนการดำเนินการ ขอให้แจ้งกระทรวงมหาดไทยทราบโดยด่วน เพื่อดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป
1.1 การรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 9 เดือนภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2565 ให้กรมรายงานผลความก้าวหน้าให้ มท. ภายในวันที่ 22 กรกฎาคม 2565 เพื่อสรุปความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตัวชี้วัดเสนอผู้บริหารทราบ/ขับเคลื่อนให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย
1.2 การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 12 เดือน ภายในวันที่ 17 ตุลาคม 2565 ให้กรมรายงานผลให้ มท. ภายในวันที่ 21 ตุลาคม 2565 เพื่อสรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมของ มท. เสนอผู้บริหารในชั้นต้น (ผลการประเมินตนเอง) ก่อนสำนักงาน ก.พ.ร. จะแจ้งผลอย่างเป็นทางการ
2. แจ้งหน่วยงาน สป.มท. ที่รับผิดชอบตัวชี้วัด เพื่อทราบการซักซ้อมแนวทางดังกล่าว และขับเคลื่อนตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทยและสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด พร้อมทั้งรายงานการดำเนินการตัวชี้วัดการประเมินผลดังกล่าวตามรอบการรายงานที่กำหนด ทั้งนี้ หากมีปัญหา อุปสรรคในการขับเคลื่อนการดำเนินการ ขอให้แจ้ง กพร.สป. ทราบโดยด่วน เพื่อดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป
2.1 การรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 9 เดือนภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2565 ให้รายงานผลความก้าวหน้าตัวชี้วัดให้ กพร.สป. ภายในวันที่ 5 กรกฎาคม 2565 เพื่อสรุปภาพรวมผลการดำเนินงานตัวชี้วัดของ สป.มท. เสนอ ปมท. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบและ รายงานในระบบการรายงานผลการประเมินส่วนราชการ (e-SAR) ของสำนักงาน ก.พ.ร. ต่อไป
2.2 การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 12 เดือน ภายในวันที่ 17 ตุลาคม 2565 ให้รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัด ภายในวันที่ 5 ตุลาคม 2565 เพื่อสรุปภาพรวมผลการดำเนินงานตัวชี้วัดของ สป.มท. เสนอ ปมท. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบและรายงานในระบบการรายงานผลการประเมิน ส่วนราชการ (e-SAR) ของสำนักงาน ก.พ.ร. ต่อไป
3. กรณีขอปรับรายละเอียดตัวชี้วัดตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน ของตัวชี้วัดระดับกระทรวง/กรม แจ้งให้ กรมในสังกัด มท. และ สป.มท. จัดส่งรายละเอียดตัวชี้วัดที่ขอปรับเปลี่ยน ให้ มท. ภายในวันที่ 20 กรกฎาคม 2565 เพื่อเสนอคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการฯ พิจารณาเหตุผลและความเหมาะสมของตัวชี้วัด และส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. พิจารณาดำเนินการตามขั้นตอนต่อไป


ร้อยละความสำเร็จของมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (ประเมินผล 1 ครั้งต่อปีงบประมาณ)
ผลการดำเนินงาน ณ วันที่ 1 กันยายน 2565

ผลการดำเนินงานการติดตามและประเมินผลส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้
- สำนักงาน ก.พ.ร. แจ้งซักซ้อมแนวทางการกำกับ ติดตามและประเมินผลส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยผ่านกลไกคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงมหาดไทย รายละเอียดดังนี้
1. ให้คณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการฯ ติดตามการดำเนินงานตัวชี้วัด และรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน ผ่านระบบการรายงานผลการประเมินส่วนราชการ (e-SAR) ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป เพื่อใช้ในการติดตามปัญหาอุปสรรคและแนวโน้มการบรรลุเป้าหมายของตัวชี้วัด โดยสามารถปรับปรุงข้อมูลผลการดำเนินงานในระบบฯ ได้จนกว่าจะเป็นผลการดำเนินงานที่เป็นข้อมูลสุดท้าย (ณ รอบ 12 เดือน) ดังนี้
1.1 การรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 9 เดือน ภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2565 ทั้งนี้ หากตัวชี้วัดใดยังไม่มีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน ขอให้รายงานความก้าวหน้าเป็นข้อมูลการดำเนินการหรือขั้นตอนที่อยู่ระหว่างดำเนินการ รวมถึงปัญหาอุปสรรคในช่องคำชี้แจงการปฏิบัติงานในระบบ e-SAR เพื่อให้ทราบถึงสถานะการดำเนินงาน ณ ปัจจุบันและแนวโน้มในการบรรลุเป้าหมายของตัวชี้วัดดังกล่าว
1.2 การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 12 เดือน ภายในวันที่ 17 ตุลาคม 2565 เพื่อใช้ในการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการผู้บริหารของส่วนราชการ
2. หากส่วนราชการพบปัจจัยภายนอกที่ไม่สามารถควบคุมได้ และส่งผลกระทบกับเป้าหมายการดำเนินงานตามตัวชี้วัด และมีความประสงค์ขอปรับรายละเอียดตัวชี้วัด (เฉพาะตัวชี้วัดในองค์ประกอบการประเมินประสิทธิผลการดำเนินงาน (Performance Base)) ให้ดำเนินการ ดังนี้
2.1 กรณีขอปรับเปลี่ยนรายละเอียดตัวชี้วัดตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน ของตัวชี้วัดระดับกระทรวง ให้เสนอคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการฯ พิจารณาเหตุผลและความเหมาะสมของรายละเอียดตัวชี้วัดที่ขอปรับเปลี่ยน เสนอสำนักงาน ก.พ.ร. พิจารณาภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2565

2.2 กรณีขอปรับเปลี่ยนรายละเอียดตัวชี้วัดตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน ของตัวชี้วัดระดับกรม ให้เสนอคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการฯ พิจารณาเหตุผลและความเหมาะสมของรายละเอียดตัวชี้วัดที่ขอปรับเปลี่ยน เสนอสำนักงาน ก.พ.ร. เพื่อทราบภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2565
- กพร.สป. ได้ดำเนินการ ดังนี้
1. แจ้งกรมในสังกัด มท. เพื่อทราบการซักซ้อมและดำเนินการตามแนวทางที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด และขอให้แจ้งผลการรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 9 ให้ มท. ทราบ ภายในวันที่ 22 กรกฎาคม 2565 เพื่อสรุปความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตัวชี้วัดเสนอผู้บริหารทราบ/ขับเคลื่อนให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย
- กพร.สป. ได้สรุปผลการดำเนินงานตัวชี้วัดภาพรวมของ มท. นำเรียน ปมท. ทราบผลการดำเนินงานตัวชี้วัดรอบ 9 เดือน เรียบร้อยแล้ว
2. แจ้งหน่วยงาน สป.มท. ที่รับผิดชอบตัวชี้วัด เพื่อทราบการซักซ้อมและดำเนินการตามแนวทางที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด และขอให้แจ้งผลการรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 9 ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของ สป.มท. ให้ กพร.สป. ทราบภายในวันที่ 5 ตุลาคม 2565 เพื่อสรุปภาพรวมผลการดำเนินงานตัวชี้วัดของ สป.มท. เสนอ ปมท. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบและรายงานในระบบการรายงานผลการประเมิน ส่วนราชการ (e-SAR) ของสำนักงาน ก.พ.ร.
- กพร.สป. ได้นำเรียนผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ ของ สป.มท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รอบ 9 เดือน ให้ ปมท. ทราบและเห็นชอบให้บันทึกข้อมูลในระบบการรายงานผลการประเมิน ส่วนราชการ (e-SAR) เรียบร้อยแล้ว
3. การขอปรับรายละเอียดตัวชี้วัดตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน (เฉพาะตัวชี้วัดในองค์ประกอบการประเมินประสิทธิผลการดำเนินงาน (Performance Base)) ของตัวชี้วัดระดับกระทรวง/กรม แจ้งให้ กรมในสังกัด มท. และ สป.มท. จัดส่งรายละเอียดตัวชี้วัดที่ขอปรับเปลี่ยน ให้ มท. ภายในวันที่ 20 กรกฎาคม 2565 เพื่อเสนอคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการฯ พิจารณาเหตุผลและความเหมาะสมของตัวชี้วัด และส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. พิจารณาดำเนินการตามขั้นตอนต่อไป
- กพร.สป. ได้รับแจ้งจากกรมในสังกัด มท. แจ้งความประสงค์ขอปรับรายละเอียดตัวชี้วัดตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน จำนวน 3 ตัวชี้วัด โดยเป็นตัวชี้วัดระดับกระทรวง (KPI Basket) จำนวน 1 ตัวชี้วัด และเป็นตัวชี้วัดระดับกรม จำนวน 2 ตัวชี้วัด ดังนี้
1) ตัวชี้วัดระดับกระทรวง (KPI Basket) จำนวน 1 ตัวชี้วัด คือ ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล (DOPA-Digital ID) Joint KPIs ระหว่าง ปค. (ผู้รับผิดชอบหลัก) และ สป.มท.
2) ตัวชี้วัดระดับกรม จำนวน 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ ปภ. คือ ตัวชี้วัดร้อยละของการรับแจ้งเหตุสาธารณภัยภายในระยะเวลาที่กำหนด และ ยผ. เสนอขอเปลี่ยนตัวชี้วัดใหม่ คือ ความสำเร็จของการจัดทำผังนโยบายระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตามขั้นตอนที่ 1 – 2 จำนวน 4 จังหวัด (1 กรม 1 ปฏิรูป)
ทั้งนี้ คณะกรรมการฯ มีมติยืนยันให้ความเห็นชอบการขอปรับรายละเอียดตัวชี้วัดฯ ของส่วนราชการที่เสนอขอปรับรายละเอียดตัวชี้วัดฯ ทั้ง 3 ตัวชี้วัด โดย กพร.สป. ได้นำส่งผลการพิจารณาไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. เรียบร้อยแล้ว และได้แจ้งส่วนราชการที่เสนอขอปรับรายละเอียดตัวชี้วัดรับความของสำนักงาน ก.พ.ร. เพื่อนำไปประกอบการดำเนินงานตัวชี้วัดต่อไป และแจ้งให้ทุกส่วนราชการขับเคลื่อนการดำเนินงานตัวชี้วัดฯ ให้บรรลุเป้าหมายในรอบ 12 เดือน

ร้อยละความสำเร็จของมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย (ประเมินผล 1 ครั้งต่อปีงบประมาณ)
ผลการดำเนินงานไตรมาส 4
- สำนักงาน ก.พ.ร. แจ้งซักซ้อมแนวทางการกำกับ ติดตามและประเมินผลส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยผ่านกลไกคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในกระทรวงมหาดไทย รายละเอียดดังนี้
1. ให้คณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการฯ ติดตามการดำเนินงานตัวชี้วัด และรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน ผ่านระบบการรายงานผลการประเมินส่วนราชการ (e-SAR) ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป เพื่อใช้ในการติดตามปัญหาอุปสรรคและแนวโน้มการบรรลุเป้าหมายของตัวชี้วัด โดยสามารถปรับปรุงข้อมูลผลการดำเนินงานในระบบฯ ได้จนกว่าจะเป็นผลการดำเนินงานที่เป็นข้อมูลสุดท้าย (ณ รอบ 12 เดือน) ดังนี้
1.1 การรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 9 เดือน ภายในวันที่ 15 กรกฎาคม 2565 ทั้งนี้ หากตัวชี้วัดใดยังไม่มีผลการดำเนินงานตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน ขอให้รายงานความก้าวหน้าเป็นข้อมูลการดำเนินการหรือขั้นตอนที่อยู่ระหว่างดำเนินการ รวมถึงปัญหาอุปสรรคในช่องคำชี้แจงการปฏิบัติงานในระบบ e-SAR เพื่อให้ทราบถึงสถานะการดำเนินงาน ณ ปัจจุบันและแนวโน้มในการบรรลุเป้าหมายของตัวชี้วัดดังกล่าว
1.2 การรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 12 เดือน ภายในวันที่ 17 ตุลาคม 2565 เพื่อใช้ในการประเมินส่วนราชการตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 และประกอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการผู้บริหารของส่วนราชการ
2. หากส่วนราชการพบปัจจัยภายนอกที่ไม่สามารถควบคุมได้ และส่งผลกระทบกับเป้าหมายการดำเนินงานตามตัวชี้วัด และมีความประสงค์ขอปรับรายละเอียดตัวชี้วัด (เฉพาะตัวชี้วัดในองค์ประกอบการประเมินประสิทธิผลการดำเนินงาน (Performance Base)) ให้ดำเนินการ ดังนี้
2.1 กรณีขอปรับเปลี่ยนรายละเอียดตัวชี้วัดตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน ของตัวชี้วัดระดับกระทรวง ให้เสนอคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการฯ พิจารณาเหตุผลและความเหมาะสมของรายละเอียดตัวชี้วัดที่ขอปรับเปลี่ยน เสนอสำนักงาน ก.พ.ร. พิจารณาภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2565

2.2 กรณีขอปรับเปลี่ยนรายละเอียดตัวชี้วัดตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน ของตัวชี้วัดระดับกรม ให้เสนอคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการฯ พิจารณาเหตุผลและความเหมาะสมของรายละเอียดตัวชี้วัดที่ขอปรับเปลี่ยน เสนอสำนักงาน ก.พ.ร. เพื่อทราบภายในวันที่ 15 สิงหาคม 2565
- กพร.สป. ได้ดำเนินการ ดังนี้
1. แจ้งกรมในสังกัด มท. เพื่อทราบการซักซ้อมและดำเนินการตามแนวทางที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด และขอให้แจ้งผลการรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 9 ให้ มท. ทราบ ภายในวันที่ 22 กรกฎาคม 2565 เพื่อสรุปความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตัวชี้วัดเสนอผู้บริหารทราบ/ขับเคลื่อนให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมาย
- กพร.สป. ได้สรุปผลการดำเนินงานตัวชี้วัดภาพรวมของ มท. นำเรียน ปมท. ทราบผลการดำเนินงานตัวชี้วัดรอบ 9 เดือน เรียบร้อยแล้ว
2. แจ้งหน่วยงาน สป.มท. ที่รับผิดชอบตัวชี้วัด เพื่อทราบการซักซ้อมและดำเนินการตามแนวทางที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด และขอให้แจ้งผลการรายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด รอบ 9 ตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการของ สป.มท. ให้ กพร.สป. ทราบภายในวันที่ 5 ตุลาคม 2565 เพื่อสรุปภาพรวมผลการดำเนินงานตัวชี้วัดของ สป.มท. เสนอ ปมท. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบและรายงานในระบบการรายงานผลการประเมิน ส่วนราชการ (e-SAR) ของสำนักงาน ก.พ.ร.
- กพร.สป. ได้นำเรียนผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพฯ ของ สป.มท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 รอบ 9 เดือน ให้ ปมท. ทราบและเห็นชอบให้บันทึกข้อมูลในระบบการรายงานผลการประเมิน ส่วนราชการ (e-SAR) เรียบร้อยแล้ว
3. การขอปรับรายละเอียดตัวชี้วัดตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน (เฉพาะตัวชี้วัดในองค์ประกอบการประเมินประสิทธิผลการดำเนินงาน (Performance Base)) ของตัวชี้วัดระดับกระทรวง/กรม แจ้งให้ กรมในสังกัด มท. และ สป.มท. จัดส่งรายละเอียดตัวชี้วัดที่ขอปรับเปลี่ยน ให้ มท. ภายในวันที่ 20 กรกฎาคม 2565 เพื่อเสนอคณะกรรมการกำกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการฯ พิจารณาเหตุผลและความเหมาะสมของตัวชี้วัด และส่งให้สำนักงาน ก.พ.ร. พิจารณาดำเนินการตามขั้นตอนต่อไป
- กพร.สป. ได้รับแจ้งจากกรมในสังกัด มท. แจ้งความประสงค์ขอปรับรายละเอียดตัวชี้วัดตามเกณฑ์การประเมินรอบ 12 เดือน จำนวน 3 ตัวชี้วัด โดยเป็นตัวชี้วัดระดับกระทรวง (KPI Basket) จำนวน 1 ตัวชี้วัด และเป็นตัวชี้วัดระดับกรม จำนวน 2 ตัวชี้วัด ดังนี้
1) ตัวชี้วัดระดับกระทรวง (KPI Basket) จำนวน 1 ตัวชี้วัด คือ ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนทางดิจิทัล (DOPA-Digital ID) Joint KPIs ระหว่าง ปค. (ผู้รับผิดชอบหลัก) และ สป.มท.
2) ตัวชี้วัดระดับกรม จำนวน 2 ตัวชี้วัด ได้แก่ ปภ. คือ ตัวชี้วัดร้อยละของการรับแจ้งเหตุสาธารณภัยภายในระยะเวลาที่กำหนด และ ยผ. เสนอขอเปลี่ยนตัวชี้วัดใหม่ คือ ความสำเร็จของการจัดทำผังนโยบายระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตามขั้นตอนที่ 1 – 2 จำนวน 4 จังหวัด (1 กรม 1 ปฏิรูป)
ทั้งนี้ คณะกรรมการฯ มีมติยืนยันให้ความเห็นชอบการขอปรับรายละเอียดตัวชี้วัดฯ ของส่วนราชการที่เสนอขอปรับรายละเอียดตัวชี้วัดฯ ทั้ง 3 ตัวชี้วัด โดย กพร.สป. ได้นำส่งผลการพิจารณาไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. เรียบร้อยแล้ว และได้แจ้งส่วนราชการที่เสนอขอปรับรายละเอียดตัวชี้วัดรับความของสำนักงาน ก.พ.ร. เพื่อนำไปประกอบการดำเนินงานตัวชี้วัดต่อไป และแจ้งให้ทุกส่วนราชการขับเคลื่อนการดำเนินงานตัวชี้วัดฯ ให้บรรลุเป้าหมายในรอบ 12 เดือน
ขณะนี้อยู่ระหว่างหน่วยงานในสังกัด สป.มท. รายงานผลการดำเนินงานตัวชี้วัดฯ รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ส่งให้ กพร.สป. ภายในวันที่ 5 ตุลาคม 2565 เพื่อเสนอ ปมท. พิจารณาผลการดำเนินงานและเห็นชอบให้ กพร.สป. นำข้อมูลรายงานในระบบ e-SAR ตามระยะเวลาที่กำหนดต่อไป
- เป้าหมายการดําเนินงาน (0.0000 ร้อยละ) - ผลการดําเนินงาน (0.0000) ร้อยละ
- เป้าหมายการเบิกจ่าย 0.1110 ล้านบาท - ผลการเบิกจ่าย 0.0000 ล้านบาท
8. ปัญหาและอุปสรรค