1. หน่วยงาน สนผ.สป.
2. ชื่อโครงการ การขับเคลื่อนการดำเนินงานตามคู่มือการพัฒนาคนทุกช่วงวัย (จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน) ในพื้นที่ (จังหวัด อำเภอ และองค์กรปกตรองส่วนท้องถิ่น)
3. ตัวชี้วัด ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจำนวนหมู่บ้านยั่งยืน (Sustainable Village)
4. งบประมาณ 0.0000ล้านบาท
5. ห้วงการรายงาน ไตรมาสที่ 1 (1 ต.ค. 65 - 31 ธ.ค. 65)
6.1 ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์,ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทาง สังคม
6.2 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ความยากจนข้ามรุ่นและความคุ้มครองทาง สังคม
6.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
6.4 นโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภา นโยบายหลักด้านที่ 5 การพัฒนาเศรษฐกิจและ ความสามารถในการแข่งขันของไทย
6.5 ยุทธศาสตร์ตามแผนปฏิบัติราชการของกระทรวงมหาดไทย การลดความเหลี่อมล้ำทางสังคม สร้างความเข้ม แข็งของชุมชน และพัฒนาเศรษฐกิจฐากราก
6.6 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ยุติความยากจนทุกรูปแบบในทุก ที่,ยุติความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร และ ยกระดับโภชนาการ และส่งเสริมเกษตรกรรมที่ยั่งยืน,บรรลุความเสมอภาคระหว่างเพศ และเพิ่ม บทบาทของสตรีและเด็กหญิงทุกคน
6.7 นโยบายรัฐบาลใหม่
7. ผลการดําเนินงานของแผนงาน/โครงการรายไตรมาส 1. กระทรวงมหาดไทยได้ร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอำเภอทั่วประเทศ ยกระดับแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของพี่น้องประชาชนด้วยการขับเคลื่อน “โครงการหมู่บ้านยั่งยืน (Sustainable Village)” ให้ครบทั้ง 75,086 หมู่บ้านทั่วประเทศ ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 ด้วยการต่อยอดแนวทางการพัฒนาหมู่บ้านยั่งยืน (Sustainable Village) ซึ่งได้รับการขับเคลื่อนในปีที่ผ่านมา โดยจัดทำตัวชี้วัดความสำเร็จ (KPIs) ของหมู่บ้านยั่งยืน จำนวน 8 ตัวชี้วัด ได้แก่ 1) ด้านที่อยู่อาศัย 2) ด้านความมั่นคงทางอาหาร 3) ด้านความสะอาด 4) ด้านความสามัคคี 5) ด้านความร่วมมือ 6) ด้านการปฏิบัติตามหลักศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม และการแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ 7) ด้านความมั่นคงปลอดภัย และ 8) ด้านการมีน้ำสะอาดสำหรับใช้ในการอุปโภคบริโภค โดยมีเป้าหมาย 76 จังหวัด 878 อำเภอ 7,255 ตำบล โดยดำเนินการครอบคลุมทุกหมู่บ้าน/ชุมชน ทั่วประเทศ
2. สำนักนโยบายและแผน สป. ได้จัดทำคู่มือการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนทุกช่วงวัย (จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน) ในระดับพื้นที่ โดยมีแนวทางการดำเนินการในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับประชาชนทุกช่วงวัย โดยมีวัตถุประสงค์รบำบัดทุกข์บำรุงสุข ให้แก่ประชาชนเกิดความยั่งยืนประชาชนในพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์พูลสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีศักยภาพในทุกมิติและในทุกช่วงชีวิตอย่างสมดุล ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา คุณธรรม และจริยธรรม พร้อมเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาสังคมและประเทศในระยะยาว ทั้งนี้ แนวทางการดำเนินการดังกล่าว มีความสอดคล้องในการพัฒนาคนทุกช่วงวัยกับตัวชี้วัดความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และตัวชี้วัดการดำเนินงานโครงการหมู่บ้านยั่งยืน
3. กระทรวงมหาดไทยได้จัดส่งคู่มือการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนทุกช่วงวัย (จากครรภ์รดาถึงเชิงตะกอน) ในระดับพื้นที่ ให้จังหวัด เพื่อใช้เป็นแนวทางในการสนับสนุนการขับเคลื่อนการในระดับพื้นที่ ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0211.3/ว 12535 ลงวันที่ 22 ธันวาคม 2566
- เป้าหมายการดําเนินงาน (0.0000 60) - ผลการดําเนินงาน (0.0000) 60
- เป้าหมายการเบิกจ่าย 0.0000 ล้านบาท - ผลการเบิกจ่าย 0.0000 ล้านบาท
8. ปัญหาและอุปสรรค